เซ็นรับรองการรัฐประหารเป็นแค่วาทกรรม

แม้คนส่วนใหญ่จะก้าวพ้นคำถามเหล่านี้ไปแล้ว แต่ก็ยังมิวายมีนักวิชาการและคนบางกลุ่มยังวนเวียนตกร่องอยู่แต่กับคำว่า “เซ็นรับรองรัฐประหาร” โดยไม่ยอมเข้าใจ (หรือแม้แต่ยอมรับ) เลยว่า การเซ็นรับรองรัฐประหารเป็นเพียงแค่วาทกรรม หนำซ้ำยังแยกไม่ออกระหว่างความหมายของคำว่า “ปฏิวัติ” และ “รัฐประหาร” อีกด้วย

ซึ่งในความเป็นจริงทางรัฐศาสตร์ การรัฐประหารแต่ละครั้ง หัวหน้าคณะรัฐประหารจะมีฐานะเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ โดยคณะรัฐประหารจะทำการขอเข้าเฝ้าฯ เพื่อชี้แจงสถานการณ์เหตุผลความจำเป็นที่ต้องทำการรัฐประหารต่อพระมหากษัตริย์ เพื่อแสดงเจตนาว่าเป็นเพียงการล้มล้างอำนาจบริหารของรัฐบาลเดิม ไม่ได้ล้มล้างราชบัลลังก์แต่อย่างใด

และการลงพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์นั้น เป็นการลงนามตามหน้าที่ในรัฐธรรมนูญ เพื่อแต่งตั้งคณะบริหารประเทศ โดย “ไม่มีผลใด ๆ” ทั้งในทางรัฐประหารหรือการปกครอง เพราะอำนาจทั้งหมดจะอยู่ที่คณะรัฐประหาร ดังนั้นการลงนามของพระมหากษัตริย์จึงไม่ใช่การ “เซ็นรับรองรัฐประหาร” ซึ่งเป็นแค่วาทกรรมที่ไม่มีจริง

TOP
y

Emet nisl suscipit adipiscing bibendum. Amet cursus sit amet dictum. Vel risus commodo viverra maecenas.

r

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้ที่มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้งานเว็บไซต์ได้อย่างเป็นปกติ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับตัวคุณ เพื่อให้เราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมและความสนใจของคุณ

บันทึกการตั้งค่า